Presentation is loading. Please wait.

Presentation is loading. Please wait.

Thailand’s Export Opportunities : Decision Support Model Approach

Similar presentations


Presentation on theme: "Thailand’s Export Opportunities : Decision Support Model Approach"— Presentation transcript:

1 Thailand’s Export Opportunities : Decision Support Model Approach
For EIAS Seminar, Brussels Thailand’s Export Opportunities : Decision Support Model Approach Pimchanok Vonkhorporn Minister (Commercial) Head of Office of Commercial Affairs Royal Thai Embassy, Brussels 20 September 2012

2 DSM Discussion (1) General comments :
Practical and simple methodology but requires database to be utilized by public More detailed explanation in the actual paper would enable better understanding Data a bit outdated, leading to slightly ambiguous outcomes Similar to Thailand’s FTA selection but more academically sound Will be useful as general guidelines not only for export promotion but for trade negotiations as well

3 DSM Discussion (2) Methodology and Outcomes
Methodology quite straightforward Products selected after Filters 3.1 and 3.2 should be derivation of “intersection”, not “union” Weighted calculation yields better results Most outcomes are in line with Thailand’s export situation Some results will be helpful in identifying potential markets and products eg. not enough agro-based products But whether some should be promoted or not must be further studied especially products which Thailand has to import raw materials eg. Oil

4 DSM Discussion (3) Further improvements in the paper
Filters : some are not clearly explained eg. Market penetration is based on what factors Trade restrictions : how to quantify or just taken them into account especially NTBs Ability to export to that market doesn’t always mean that it has no restrictions but exporting countries may have adapted Other indexes : can other indexes be included in future model to screen further countries eg., IMD competitiveness index, WB Ease of Doing Business More readily available database will make the model more useful for development countries

5 Snapshots of Thailand International Trade

6 Thailand’s Exports 2011 $26,251 mil China 11.8% $24,158 mil
EU 10.8% $21,784 mil Japan 10.7% USA 9.8% ASEAN 24.28% $72,471 mil $54,045 mil Others 32.56% Source : Ministry of Commerce and Customs Department, 2011

7 Year 2011 = 3.4% of GDP Major export items US$ 222.5 billion
Computers and parts (7.7%) Motor cars, parts and acc. (7.6%) Rubber (5.7%) Gems and jewellery (5.5%) Refined oil (4.5%) Plastic pellets (4%) US$ billion US$ billion Major import items Crude oil (14.4%) Machinery and parts (8.7%) Gems, stones, silver, gold(8.7%) Chemicals(6.5%) Iron & steel products (6.1%) Electrical machinery & parts (5.8%) Year 2011 Current account balance = 3.4% of GDP Source: Ministry of Commerce, Customs Department, tradingeconomics.com 2011

8 TOP TEN TRADING PARTNERS (2011)
Value (mil. USD) Growth (%) Balance (mil. USD) 1. Japan 66,076 13.4 -18,335 2. China 56,752 24.15 -4,250 3. USA 35,177 13.92 8,390 4. Malaysia 24,730 16.13 68 5. Singapore 19,212 25.55 3,634 6. Indonesia 17,454 33.86 2,702 7. UAE 17,231 48.20 -11,707 8. Australia 15,945 34.52 50 9. HKC 14.292 28.73 9,613 10. S. Korea 13,793 18.18 -4,638 Source: Ministry of Commerce and Customs Department, 2011

9 One ASEAN at the Heart of Dynamic Asia
แรงผลักดันที่ทำให้อาเซียนร่วมมือกันจัดตั้งอาฟต้าเกิดจากโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเกือบทั้งหมดของอาเซียนก่อนการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) หรืออาฟต้า เช่น การให้สิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน (Preferential Trading Arrangements : ASEAN PTA) โครงการร่วมลงทุนด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Joint Ventures: AIJV) โครงการแบ่งผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (Brand-to-Brand Complementation: BBC) เป็นต้น ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ เช่น สมาชิกอาเซียนไม่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งด้านการเมืองและเศรษฐกิจแม้จะอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน การรวมตัวของสมาชิกอาเซียนเกิดจากการคุกคามความมั่นคงจากภายนอก มิใช่จากแนวคิดความเป็นภูมิภาคเดียวกัน ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน จึงมองประเทศสมาชิกอื่นเป็นคู่แข่งในการส่งออกและเห็นว่าภายนอกภูมิภาค คือ แหล่งเงินทุนและเทคโนโลยี เป็นต้น อาเซียนได้พยายามศึกษาหาแนวทาง และมาตรการที่จะขยายการค้าระหว่างกันให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างกัน โดยใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน (Common Effective Preferential Tariff : CEPT) สำหรับสินค้าของอาเซียน เช่น ซีเมนต์ ปุ๋ย และเยื่อกระดาษ ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนมกราคม ณ ประเทศสิงคโปร์ จึงได้มีมติเห็นชอบตามข้อเสนอของไทย โดยอดีตนายกรัฐมนตรี อานันท์ ปันยารชุน ในการเริ่มจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) เป็นไปตามกรอบความตกลงแม่บทว่าด้วยการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic Cooperation) และความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน [Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA)] อาเซียนเริ่มดำเนินการลดภาษีภายใต้อาฟต้าในวันที่ 1 มกราคม 2536 เพื่อมุ่งสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้าอาเซียนในตลาดโลก ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ และสร้างอำนาจต่อรองในเวทีการค้าโลก เป้าหมายหลักของอาฟตาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการค้าภายในภูมิภาคอย่างเสรีปราศจากอุปสรรคทั้งในด้านภาษีและที่มิใช่ภาษี ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศมีเป้าหมายการลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษีเป็น 0 ภายในปีค.ศ ในขณะที่ ประเทศสมาชิกใหม่ (CLMV) มีเป้าหมายการลดภาษีสินค้าเป็น 0 ภายในปีค.ศ. 2015 เงื่อนไขการได้รับสิทธิประโยชน์อาฟต้า 1. ต้องเป็นสินค้าที่อยู่ในบัญชีลดภาษีหรือ Inclusion List (IL) ของทั้งประเทศผู้ส่งออกและนำเข้า และลดภาษีลงเหลือร้อยละ 20 หรือต่ำกว่า 2. เป็นสินค้าที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งประเทศ (ASEAN Content) รวมกันแล้วมีมูลค่า (FOB) อย่างน้อยร้อยละ 40 ประเทศอาเซียนเดิม 6 ประเทศ รวมทั้ง ไทย ได้ลดภาษีสินค้าทุกรายการลงเหลือร้อยละ 0-5 (ยกเว้นสินค้าอ่อนไหวและอ่อนไหวสูง) เป็นจำนวนกว่า 66,000 รายการ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546 โดยสินค้าร้อยละ 60 มีอัตราภาษีที่ร้อยละ 0 และอยู่ระหว่างดำเนินการเตรียมลดภาษีให้เหลือ 0% เพิ่มเติมให้ครบจำนวนร้อยละ 80 ในวันที่ 1 มกราคม 2550 สำหรับประเทศอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ มีรายการอยู่ในบัญชีลดภาษี (IL) ราว 39,000 รายการ โดยร้อยละ 77 มีอัตราภาษีอยู่ที่ร้อยละ 0-5 แล้ว และจะทยอยนำรายการที่เหลือมาลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0-5 ต่อไป สำหรับไทย ขณะนี้มีจำนวนสินค้าที่ลดภาษีในอาฟตาทั้งสิ้น 11,030 รายการ โดย 11,020 รายการมีอัตราภาษีอยู่ที่ร้อยละ 0-5 สำหรับสินค้าที่เหลือ 10 รายการนั้นเป็นสินค้าอ่อนไหว 4 กลุ่มสินค้า ซึ่งไทยจะทยอยลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0-5 ในปี 2553 ได้แก่ สินค้ากาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก One ASEAN at the Heart of Dynamic Asia

10 THAILAND’S FTAs Thai-EU ASEAN-EU ASEAN-China Thai-EFTA ASEAN-Japan JTEPA USA ASEAN-GCC ASEAN-Korea RCEP ASEAN-India Thai-India ASEAN AEC BIMSTEC ปัจจุบันไทยและอาเซียนทำ FTA อยู่กับประเทศ/กลุ่มประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เปรู เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป สมาคมการค้าเสรียุโรป (EFTA) และกลุ่มอนุทวีป (BIMSTEC) ซึ่งมีการค้ากับไทยคิดเป็น 81.3% ของมูลค่าการค้าทั้งหมด Peru ASEAN-MERCOSUR Thai-Australia ASEAN-CER Chile Thai-New Zealand Suspended Pending Approval Under Study Ongoing Negotiations FTAs in Force

11 Platform and Building blocs Connecting Asia and the World
BUSINESS OPPORTUNITIES: Partnership Building Regional Platform and Building blocs  BIMSTEC ASEAN+3 ASEAN+6 RCEP FTAAP? Connecting Asia and the World Investment Opportunities  AEC as a Single Market and Production Base (economies of scale, large markets, etc) Investment Opportunities Sectors  Auto and parts Machinery Chemical Food & Biotech Healthcare Alt./Ren. Energy Environment Logistics

12 How can Thailand capitalise on her location and endowment?
Connectivity Economic Corridor NSEC (North-South Economic Corridor) Thailand-Myanmar-Lao-China EWEC (East-West Economic Corridor) Myanmar-Thailand-Lao-Vietnam Southern Economic Corridor Thailand-Cambodia-Vietnam How can Thailand capitalise on her location and endowment?


Download ppt "Thailand’s Export Opportunities : Decision Support Model Approach"

Similar presentations


Ads by Google