Presentation is loading. Please wait.

Presentation is loading. Please wait.

Thailand’s Medium Term Expenditure Framework (MTEF)

Similar presentations


Presentation on theme: "Thailand’s Medium Term Expenditure Framework (MTEF)"— Presentation transcript:

1 Thailand’s Medium Term Expenditure Framework (MTEF)
The Bureau of the Budget Office of Prime Minister Royal Thai Government

2 SPBBS : The Principle Policy aspects Management aspects
Top-down policy driven Strategic allocation Fiscal discipline Effective budgeting People oriented Deconcentration Management flexibility Good governance Financial disclosure

3 Elements of SPBBS Medium Term Expenditure Framework - MTEF
Result oriented Strategic Target Ministry Target Output and KPI Devolution Comprehensiveness Good Governance Monitoring and Evaluation

4 Medium Term Expenditure Framework (MTEF)
cover both top down and bottom up estimates: Macro fiscal projection – to establish budget ceiling based on resources (such as taxes, fiscal policy) and constraints (such as debt, and contingent liabilities), and stating all economic assumptions Micro baseline projection – to establish baseline expenditures based on existing policies at agency level Prudent Reconciliation process of top-down and bottom-up projections

5 MTEF Process (simplified)
Macro-economic forecasting Fiscal target Total expenditure setting for multi-years Sectoral ceiling setting for multi-years Annual budget formulation กระบวนการทำ MTEF เริ่มต้นจากการประมาณการเศรษฐกิจ เพื่อประเมินรายได้และรายจ่ายที่จะเกิดขึ้น จากนั้นจะตั้งเป้าหมาย ภายใต้ภาวะเศรษฐกิจที่ได้คาดการณ์ไว้ กล่าวคือ ตั้งเป้าหมายเกินดุลในกรณีที่เศรษฐกิจขยายตัวเร็วเกินไป หรือตั้งเป้าหมายขาดดุลในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ (ซึ่งภายใต้เป้าหมายดังกล่าว ต้องมีข้อมูลสนับสนุนทั้งในด้านการเตรียมข้อมูลต้นทุนรายจ่าย ขณะเดียวกันต้องวางแผนว่าจะใช้จ่ายเงินงบประมาณลงไปที่ใด) จากนั้นจึงจะได้แผนรายจ่ายระยะกลาง โดยอาจดำเนินการวางแผนในระยะกลางสำหรับโครงการที่ใช้เวลามากกว่า 1 ปี เมื่อกระบวนการ MTEF เสร็จสิ้นแล้ว ลำดับถัดไปจะเป็นการดำเนินการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี Updated cost estimate of existing policy/program New sectoral demand for t+3 (priority/cost) Sectoral Budget Preparation

6 Results from the Processing Modules Fiscal Sustainability Assessments
Assumptions Results from the Processing Modules Macro- Framework Expenditure & Revenue Endogenous Inputs การดำเนินการภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง จำเป็นต้องรับถึงสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ และคาดการณ์ถึงภาวะเศรษฐกิจที่จะเป็นไปในอนาคต เพื่อวางแผนดำเนินการควบคุมฐานะการคลัง ทั้งในด้านรายได้ รายจ่าย ทรัพย์สิน และหนี้สิน Stock of Public Debt Fiscal Sustainability Assessments

7 Macro Economic Assumption
Indicators 2010 2011 2012 2013 2014 Real GDP growth (%pa) 7.0 – 8.0 4.0 – 5.0 Inflation Rate growth (%pa) 3.0 – 4.0 2.5 – 3.5 Import growth (%pa) 27.72 10.00 Time deposit rate (%) 0.72 0.78 Time deposit growth (%pa) -9.78 0.00 Minimum loan rate (%) 5.93 6.00 Loan on private sector (%pa) 6.70 5.00 สมมติฐานข้างต้น จะถูกใช้ในการประมาณการรายได้เป็นหลัก สำหรับการประมาณการด้านรายจ่ายในหน้าถัดไป จะอาศัยข้อมูลพื้นฐานของงบประมาณในปีก่อนหน้า รวมกับภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันผนวกกับทิศทางการดำเนินนโยบายของรัฐบาล Source : Bureau of the Budget, Bank of Thailand, NESDB

8 Bureau of The Budget’s strategy measurement
Investment Tourism Infrastructure Remaining Budgets (Fiscal Space) Social network Education Public health To be accordance with human power improvement Commitment Expenditure Minimum Investment The measurement of budget allocation is essential Personnal Expenditure Fiscal Sustainability Framework Local Authority Revolving Fund Subsidy การดำเนิน MTEF โดยคร่าว จะพิจารณาจากรายจ่ายที่จำเป็นต้องใช้จ่ายในปีนั้นๆ ได้แก่ -การชำระหนี้ (เงินต้น+ดอกเบี้ย) ทั้งหนี้ในประเทศและต่างประเทศ -เงินอุดหนุน -รายจ่ายเงินเดือนข้าราชการ -รายจ่ายผูกพัน จากนั้น จึงจะพิจารณาร่วมกับประมาณการรายได้ และเป้าหมายทางการคลัง (ขาดดุล/เกินดุล) เพื่อให้ทราบว่า ยังมีวงเงินงบประมาณเหลือเพียงใด จากนั้น จึงนำวงเงินงบประมาณที่คงเหลือ ดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลต่อไป Loss from FIDF Government External Borrowing Project/Program Loan External Borrowing Internal Borrowing SOEs

9 Fiscal Sustainability Framework
กู้ใน เงินอุดหนุน เงินเดือน/ค่าใช้จ่ายบุคลากร การลงทุนขั้นต่ำ Remaining Budgets กู้ใน เงินอุดหนุน เงินเดือน/ค่าใช้จ่ายบุคลากร การลงทุนขั้นต่ำ Remaining Budgets กู้ใน เงินอุดหนุน เงินเดือน/ค่าใช้จ่ายบุคลากร การลงทุนขั้นต่ำ Remaining Budgets External Borrowing Internal Borrowing Subsidy and Funds Personnel Expenditure Minimum Investment Remaining Budgets MTEF Public Debt / GDP < 60% Debt Service / Budget < 15% 14 Balance Budget 13 12 11

10 Expenditure Projection
Key Figures Fiscal Year 2011 2012 2013 2014 Revenue Projection    Unit : Millions of Baht  On Budget Basis 1,793,569 1,934,549 2,100,942 2,281,075 Expenditure Projection    Unit : Millions of Baht Expenditure 1,546,305 1,383,839 1,646,737 1,640,168 1.Current Expenditure 1,153,243 1,170,260 1,199,053 1,219,469 (% of total) 72% 66% 62% 57% 1.1 Personal Exp. 502,658 532,518 564,169 597,719 1.2 Operating Exp. 189,292 1.3 Interest Payment 118,171 112,718 101,378 75,158 1.4 Commitment Exp. 31,823 9,158 3,023 595 1.5 Revolving Fund 146,506 151,812 156,816 161,878 1.6 Transfer and Subsidy 164,793 174,763 184,375 194,826 2. Capital Expenditure 236,905 186,294 183,729 194,317 15% 11% 9% 2.1 Subsidy Local Authority 141,436 158,820 174,659 192,531 2.2 Commitment Exp. 95,469 27,473 9,070 1,786 3.Principle Expenditure 156,157 27,285 263,955 226,382 10% 2% 14% Fiscal Space* 247,264 550,710 454,205 640,907

11 PIT Direct Tax CIT PTT TAX VAT Indirect Tax SBT
Revenue Module PIT Direct Tax CIT PTT TAX EXCISE ประมาณการรายได้จัดเก็บ จะจำแนกตามลักษณะภาษี VAT Indirect Tax Import Duty SBT

12 Domestic Borrowings Domestic Borrowing Estimation Projection
SOEs domestic debt การประมาณการหนี้ในประเทศ (Estimation) จะคำนวณจากสัญญาหนี้แต่ละฉบับ ถึงการจ่ายดอกเบี้ยในแต่ละปี และการใช้คืนหนี้เมื่อสัญญาหมดอายุ การคาดการณ์หนี้ในประเทศ (Projection) จะพิจารณาถึงหนี้ที่หมดอายุสัญญาว่า จะมีการกู้ยืมต่อหรือไม่ (Rollover) ถ้ามีการกู้ยืม จะตั้งสมมติฐานถึงดอกเบี้ยในอนาคตในแต่ละปี เพื่อคำนวณถึงภาระที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไป Domestic Borrowing Govt domestic debt Projection Total domestic debt

13 External Borrowings Sensitivity Analysis on Interest Rate and Exchange Rate Query Function เช่นเดียวกับการประมาณการหนี้ในประเทศ จะมีทั้งส่วนการประมาณการ (Estimation) และการคาดการณ์ (Projection) แต่ในกรณีสัญญาหมดอายุหรือต่อสัญญาใหม่ อัตราแลกเปลี่ยนจะเข้ามามีผลกระทบเพิ่มเติมนอกเหนือจากอัตราดอกเบี้ย External Borrowing Exchange Rate Converting

14 Assume Disbursement Patterns : ADiPs 22 branch
External Borrowings Assume Disbursement Patterns : ADiPs 22 branch Data-base External Debt การประมาณการผลการเบิกจ่ายจะพิจารณาเพิ่มเติมจาก ADiPs ตามลักษณะของโครงการที่กู้ยืมเงิน Disbursement Interest Payment Principle Payment

15 Revolving Funds Health fund Revolving Fund Student Loan
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน จะลงรายละเอียดลึกใน 2 กองทุนหลัก ได้แก้ กองทุนหลักประกะนสุขภาพ และกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา ซึ่งได้รับเงินอุดหนุนมากกว่าร้อยละ 90 ของเงินอุดหนุนแก่กองทุนและเงินทุนหมุนเวียนทั้งหมด

16 Universal Health Care Fiscal Year 2011 2012 2013 2014
Budget Allocation for Health Care Policy 122,158 130,530 139,429 148,883 Deducted at Government Procurement 34,658 36,217 37,847 39,550 1) Expenditure on Salaries of government Officers, affiliated with the Ministry of Public Health 32,921 34,403 35,951 37,568 2) Expenditure on Salaries of government Officers, not affiliated with the Ministry of Public Health 1,679 1,754 1,833 1,916 3) Others ๆ 118 123 128 134 Budget Allocation for Revolving fund for Health Care 87,500 94,313 101,582 109,332 การประมาณการเงินอุดหนุนโดยหลัก จะประมาณการโครงสร้างประชากร และใช้อัตราค่าใช้จ่ายของการรักษาพยาบาล (สำหรับกองทุนประกันสุขภาพฯ) และอัตราค่าใช้จ่ายของการศึกษาเล่าเรียน (สำหรับกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ทั้งนี้ การคำนวณรายได้ของกองทุนประกันสุขภาพฯมีส่วนทับซ้อนกันระหว่าง เงินเดือนของแพทย์ และการได้รับเงินุดหนุนกองทุนที่ได้รับต่อหัว จึงจำเป็นต้องจำแนกและหักออกไปก่อนที่จะอุดหนุนให้กองทุนดังกล่าว

17 Funds Funds 2011 2012 2013 2014 1 Revolving Fund for Health Care 87,500.16 94,312.53 101,581.73 109,332.25 2 Student Loans Fund 25,407.45 23,901.14 21,636.60 18,947.89 3 Income Contingent Loan Fund 0.00  0.00 4 Fund for Farmer Rehabilitation and Development 2,499.10 5 Fund for Small and Medium Enterprises Promotion 615.00 6 Fund for Promotion of Social Security 30.00 7 Fund for National Sports Development 250.00 8 Fund for Revitalization of the Disabled 50.00 9 Fund for Senior Citizens 100.00 10 Land Readjustment Fund 60.00 11 Fund for Children Protection 12 Fund for Restructuring of Agricultural Production to Improve Competitiveness 13 Fund for Political Party Development 200.00 14 Fund for Criminal Investigation 500.00 15 Other Funds 17,336.00

18 Subsidy from the Budget
Local Authorities Self Collected Subsidy from the Budget Government Collected Revenue Sharing รายได้ท้องถิ่นประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ -รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง -รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้ -รายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้ -เงินอุดหนุน ซึ่งภายใต้กฎหมายปัจจุบัน กำหนดให้รายได้ท้องถิ่นมีสัดส่วนเท่ากับ 25.2% ของรายได้จัดเก้บของรัฐบาล (ตามหลักการกระจายอำนาจ) ดังนั้นจำเป็นต้องประมาณการรายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้ และรายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้ ภายใต้ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ จากนั้นจึงจะคำนวณเงินอุดหนุน เพื่อให้รายได้ของท้องถิ่นมากกว่า 25.2% ของรายได้จัดเก็บของรัฐบาลทั้งหมด ดังในภาพถัดไป Gov’t Revenue L/A Rev Previously 25.2%

19 Local Authority Revenues
Type of Revenues 2011 2012 2013 2014 Revenue collected by Local Administrative Organization 39,833.59 43,360.15 47,201.05 51,384.32 Revenue from Local Taxes collected by Government 148,484.76 157,725.38 167,779.16 178,717.68 Revenue sharing from government Taxes 80,982.21 93,526.31 107,442.80 122,892.69 Revenue from Subsidies and duties transfer 194,674.34 215,829.45 239,524.61 266,085.22 Total of Local revenues 463,974.89 510,441.29 561,947.61 619,079.92

20 Commitment Budget and outyears
รายจ่ายผูกพัน จะประกอบไปด้วยงบลงทุนที่ผูกพัน (ลงทุนมากกว่า 1 ปี) และรายจ่ายอื่นๆ ได้แก่ ค่าเช่าบ้านของข้าราชการ ค่าเช่ารถ เป็นต้น and outyears

21 Personnel Expenditure
2011 2012 2013 2014 Personnel Expenditure 502,658 532,518 564,169 597,719 - Wage and Salary 484,611 513,388 543,891 576,224 - Wage for temporally 1,515 1,606 1,702 1,804 - Benefit for government employee 16,532 17,524 18,576 19,690 ในส่วนของการประมาณการรายจ่ายเงินเดือนค่าราชการ จะจำแนกออกเป็น 3 ส่วนสำคัญ ได้แก่ -เงินเดือนและค่าจ้างประจำ -ค่าจ้างชั่วคราว -ผลตอบแทนแก่ข้าราชการ เนื่องจากมีโครงสร้างของข้าราชการและอัตราการขยายตัวค่าจ้างและเงินเดือนที่แตกต่างกัน

22 Lessons Learned To forecast the outyear budget (year 2-4) need both unit cost and output: lacking of quantitative indicators make the output forecast a difficult task. Understanding of government agencies The rolling MTEF make the forecast less important. Dependence on external economy Political Stability ความยากในการจัดทำประมาณการ งปม ในช่วง Outyear (ปีที่ 2 3 และ 4)    งปม = unit cost * output    ประมาณการ unit cost ไม่มีปัญหา แต่ประมาณการ output เป็นเรื่องยาก เพราะไม่มีตัวชี้วัดปริมาณงานที่เหมาะสม    ประเทศไทยใช้การจัดทำงบประมาณที่อิงยุทธศาสตร์เป็นหลัก ในขณะที่ เมืองนอกบางประเทศใช้ มติ ครม เป็นตัวกำหนด ปริมาณ output


Download ppt "Thailand’s Medium Term Expenditure Framework (MTEF)"

Similar presentations


Ads by Google